SAR ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
SAR ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
รายงานการประเมินตนเองมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเล่มนี้ เป็นการประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ แสดงถึงผลการดำเนินงาน ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา และทิศทางการพัฒนาในภาพรวมของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทราบสถานภาพที่แท้จริงอันจะนำไปสู่การกำหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์และมาตรฐานที่ตั้งไว้อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับเกณฑ์ประเมินของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกอบด้วย ๕ องค์ประกอบ ๑๙ ตัวบ่งชี้ แบ่งเป็นปัจจัยนำเข้า (Input) ๓ ตัวบ่งชี้ กระบวนการ (Process) ๗ ตัวบ่งชี้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ (Output/Outcome) ๙ ตัวบ่งชี้ ใช้ระบบการให้คะแนนเต็ม ๕ คะแนน
SAR ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔
SAR ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔
รายงานการประเมินตนเองมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเล่มนี้ เป็นการประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ แสดงถึงผลการดำเนินงาน ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา และทิศทางการพัฒนาในภาพรวมของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทราบสถานภาพที่แท้จริงอันจะนำไปสู่การกำหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์และมาตรฐานที่ตั้งไว้อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับเกณฑ์ประเมินของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกอบด้วย ๕ องค์ประกอบ ๑๙ ตัวบ่งชี้ แบ่งเป็นปัจจัยนำเข้า (Input) ๓ ตัวบ่งชี้ กระบวนการ (Process) ๗ ตัวบ่งชี้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ (Output/Outcome) ๙ ตัวบ่งชี้ ใช้ระบบการให้คะแนนเต็ม ๕ คะแนน
คู่มือการประเมินการกำหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับปรับปรุง)
คู่มือการประเมินกำหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาฉบับนี้ กล่าวถึงความจำเป็นที่ระบบอุดมศึกษาและ สถาบันอุดมศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงให้สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของระบบอื่นๆ ในสังคมที่ต้องทำงานร่วมกัน และไปในทิศทางเดียวกัน อธิบายคุณลักษณะ นิยามปฎิบัติการ เป้าหมาย ของกลุ่มสถาบันอฺดมศึกษาแต่ละกลุ่ม ตัวชี้วัดด้านผลการดำเนินงานและด้านศักยภาพของแต่ละกลุ่ม รวมถึงวิธีการประเมิน การใช้ผลการประเมิน เป็นข้อมูลประกอบการกำหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่ตอบโจทย์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม